แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2558-2559
ยุทธศาสตร์ที่ 2 อนุรักษ์ และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ
2.4 แผนปฏิบัติการจัดการชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
ตัวชี้วัด
1 มีข้อมูลทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานและเส้นทางการแพร่ระบาดตามลำดับความสำคัญ
แนวทางปฏิบัติ | แผนงาน/โครงการ | ผลการดำเนินงาน |
---|---|---|
2.4.1.1 จำแนก ระบุ และจัดลำดับความสำคัญของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน | 1. ศึกษาและประเมินชนิดพันธุ์ต่างถิ่น รวมถึงจัดลำดับชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานในพื้นที่อนุรักษ์ - โครงการศึกษาและประเมินชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในสวนพฤกษศาสตร์ สวนพฤกษศาสตร์วรรณคดีและสวนรวมพรรณไม้ป่า 16 สวน | |
2. ศึกษา สำรวจ และจัดลำดับชนิดพันธุ์ต่างถิ่น รวมทั้งจัดลำดับชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสุขอนามัยของชุมชน |
1. โครงการฟื้นฟูเหมืองโดยใช้พรรณไม้ท้องถิ่น |
|
3. ปรับปรุงทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ควรป้องกัน ควบคุมและกำจัดของประเทศไทย | ||
2.4.1.2 ศึกษา จำแนก จัดลำดับเส้นทางและวิธีการเข้ามาของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น รวมทั้งศึกษา สำรวจ ในแง่ของการแพร่กระจายและแนวโน้มการรุกรานตลอดจนผลกระทบต่อระบบนิเวศ | 1. ศึกษา สำรวจ รวบรวม ประเมินเส้นทางและวิธีการเข้ามาของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นทั้งการตั้งใจนำเข้าและติดเข้ามากับสิ่งอื่น รวมถึงปัจจัยในการแพร่ระบาด แนวโน้ม และความรุนแรงในการรุกรานและผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และจัดทำมาตรการกำจัด/ควบคุม เช่น - นำเข้าเพื่อเป็นสัตว์เลี้ยง สัตว์สวยงามใน aquarium และ terrarium เหยื่อ และอาหาร - นำเข้าเพื่อการศึกษาวิจัย : โครงการการจัดทำแผนประชากรสัตว์ - ติดมาจากน้ำอับเฉาและชนิดพันธุ์เกาะติด : โครงการศึกษาชนิดพันธุ์ต่างถิ่นและชนิดพันธุ์เกาะติด (biofouling) จากกิจกรรมการเดินเรือ - นำเข้าเพื่อประโยชน์ทางการเกษตรและปศุสัตว์ - นำเข้าเพื่อประโยชน์ด้านการอนุรักษ์ - ติดมากับการท่องเที่ยว และอื่นๆ | |
2. มดต่างถิ่นที่รุกรานที่มีผลกระทบต่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในพื้นที่อนุรักษ์ | ||
3. จำแนกชนิดและจำนวนของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เข้ามาในแต่ละเส้นทาง เพื่อหาเส้นทางที่มีชนิดพันธุ์เข้ามาในประเทศมากที่สุด | ||
4. ศึกษาเส้นทางและผลกระทบของชนิดพันธุ์ที่มีการเคลื่อนย้ายข้ามถิ่นภายในประเทศ | ||
5. ติดตาม ตรวจสอบชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว และมีแนวโน้มรุกรานที่สำคัญ และดำเนินปฏิบัติการกำจัด/ควบคุม | ||
2.4.1.3 ปรับปรุงกลไก และประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการชนิดพันธุ์ต่างถิ่น และชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน | 1. จัดทำแนวทางประเมินชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่อาจส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ เศรษฐกิจ และสุขอนามัยของประชาชนในประเทศไทย |
1. จัดทำแนวทางประเมินชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่อาจส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ เศรษฐกิจ และสุขอนามัยของประชาชนในประเทศ |
2. ขยายขอบเขตการดำเนินงานของหน่วยงานภายในประเทศที่เกี่ยวข้องกับ CITES IPPC OIE ให้ครอบคลุมเรื่องชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานและสอดคล้องกับการดำเนินงานสากล | ||
3. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทำคู่มือการดูแลจัดการชนิดพันธุ์ต่างถิ่น (both exotic and invasive alien species) ในสวนพฤกษศาสตร์ | ||
2.4.1.4 จัดทำ พัฒนา ปรับปรุง กลไก เกณฑ์ กฎระเบียบ เพื่อควบคุม ดูแล กำจัดชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่คุกคามความหลากหลายทางชีวภาพ | 1. พัฒนากฎ/ระเบียบ/แนวทาง หรือระบบการควบคุมดูแลการแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน และจัดทำกลไกการป้องกัน ประเมินวิเคราะห์ความเสี่ยงของชนิดพันธุ์สัตว์น้ำต่างถิ่นที่เข้ามาใช้ประโยชน์ในประเทศ |
1. กำหนดมาตราการการจัดการชนิดพืชและศัตรูพืชต่างถิ่นที่รุกรานในระบบนิเวศการเกษตร |
2. ศึกษากฎหมาย มาตรการ กลไกที่เกี่ยวข้องกับชนิดพันธุ์ต่างถิ่นทางทะเล เพื่อวางมาตรการ กลไกภายในประเทศให้สามารถควบคุมและจัดการชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานทางทะเลได้ |
1. โครงการสำรวจพืชต่างถิ่นรุกรานในพื้นที่มรดกโลกดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของพืชหายาก พืชเฉพาะถิ่น และพืชต่างถิ่นรุกรานในพื้นที่มรดกโลก กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ |
|
3. ปรับปรุงมาตรการ กฎระเบียบ กลไกการดำเนินงานทางกฎหมายและวิธีปฏิบัติในการบริหารจัดการให้สามารถป้องกัน ควบคุมและกำจัดชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในพื้นที่อนุรักษ์สอดคล้องกับการดำเนินงานสากล |
1. โครงการพัฒนาเครื่องมือ กลไก การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพและอนุวัตอนุสัญญาว่าด้วย ความหลากหลายทางชีวภาพ จัดทำทะเบียนรายการชื่อสิ่งมีชีวิต กลุ่มปลาน้ำจืดและกลุ่มเอคไคโน เดิร์ม เอกสารเครื่องมือกลไกการจัดการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพที่สอดคล้องกับพันธกรณีพิธี สารคาร์ตาเฮนาว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพ และเอกสารการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพใน ระบบนิเวศป่าไม้ |
|
2.4.1.5 ส่งเสริมการศึกษาวิจัยด้านการนำชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานหรือมีแนวโน้มที่รุกรานไปใช้ประโยชน์ | 1. ศึกษาวิจัยการนำชนิดพันธุ์ต่างถิ่นไปใช้ประโยชน์เพื่อลดปัญหาการแพร่ระบาด |
1. แผนงานวิจัยมาตรการสุขอนามัย ดำเนินการวิจัยมาตรการสุขอนามัยพืชในการนำเข้าและส่งออก สินค้าเกษตร (สอพ.) ศึกษาชนิดศัตรูพืชที่ติดมากับพืชนำเข้า (สอพ.) วิจัยและพัฒนาวิธีกำจัด ศัตรูพืชกักกันของพืชส่งออก (สอพ.)ศึกษาสถานภาพศัตรูพืชกักกันในประเทศไทย (สอพ.) |
2. โครงการวิจัยการปลูกทดสอบแม่ไม้ยูโรฟิลลา เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพสูง | ||
3. ศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีผลต่อการแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น | ||
4. ศึกษาวิธีการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในการป้องกัน ควบคุม กำจัดชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน | ||
5. ศึกษาเปรียบเทียบประโยชน์และผลกระทบของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในด้านสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ เศรษฐกิจ | ||
2.4.1.6 ติดตามและเฝ้าระวังการรุกรานของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น | 1. ส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ติดตาม กำจัด ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน | |
2. เฝ้าระวังการแพร่ระบาด และลดผลกระทบของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน |
1. ศึกษาและวิเคราะห์เส้นทางและวิธีการที่สำคัญในการแพร่ระบาดของชนิดพันธ์พืช แมลง จุลินทรีย์ต่างถิ่นที่เข้ามาในประเทศไทย 2. จัดทำสถานแรกรับกักกันสัตว์ป่าต่างถิ่นเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด |
|
2.4.1.7 เสริมสร้างสมรรถนะให้กับหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งประชาชนให้สามารถตรวจสอบ ป้องกัน เฝ้าระวัง ควบคุม และกำจัดชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน | 1. ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการให้สามารถจำแนกและรายงานการแพร่ระบาดของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานได้ พร้อมทั้งสามารถกำจัดชนิดพันธุ์ต่างถิ่นเหล่านั้นได้อย่างถูกวิธี | |
2. จัดทำช่องทางและสร้างเครือข่ายการแจ้งข้อมูลชนิดพันธุ์ต่างถิ่น |
1. การจัดทำข้อมูลศัตรูพืชเพื่อกำหนดมาตรการด้านสุขอนามัยพืช |
|
3. สร้างกลุ่มเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ นักวิจัย นักปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับชนิดพันธุ์ต่างถิ่น | ||
4. จัดทำเครื่องมืออย่างง่ายสำหรับการจำแนกชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน |